ฟังก์ชันขั้นบันได
คือฟังก์ชันบนจำนวนจริงซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างฟังก์ชันคงตัวจากโดเมนที่แบ่งออกเป็นช่วงหลายช่วง
กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะเป็นส่วนของเส้นตรงหรือรังสีในแนวราบเป็นท่อน ๆ ตามช่วง
ในระดับความสูงต่างกัน อ่านต่อ
วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
กรณฑ์ที่สอง
เครื่องหมายรากหรือเครื่องหมายกรณฑ์
ภาษาอังกฤษใช้คำว่า radicals
เครื่องหมายรากหรือกรณฑ์ คือ เครื่องหมายนี้ อ่านว่ารากที่เอ็นของเอ หรือ
กรณฑ์ที่เอ็นของเอ
เรียกว่า
ดัชนีของราก(index of root) อ่านต่อ
วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
คู่อันดับ (Order
Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น
คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย
(a, b) เรียก
a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า
และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง
(การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ
a = c และ
b = d
โดเมนและเรนจ์
ถ้าพิจารณาเฉพาะเซตของสมาชิกตัวหน้า
และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์ใด ๆ จะได้โดเมน (domain) และเรนจ์
(range) ของความสัมพันธ์นั้นตามลำดับ อ่านต่อ
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันเป็นบทเรียนที่ต่อจากเรื่องความสัมพันธ์ ในบทเรียนนี้จะได้รู้จักว่าฟังก์ชันเป็นอย่างไร
มีเงื่อนไขอย่างไร การแทนฟังก์ชัน ฟังก์ชันจาก A ไป B ฟังก์ชันที่ควรรู้จัก
พร้อมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้สมการและอสมการ การแก้โจทย์ปัญหาฟังก์ชัน
ฟังก์ชันคอมโพสิท ฟังก์ชันอินเวอร์ส และพีชคณิตของฟังก์ชัน อ่านต่อ
ฟังก์ชั่นกำลังสอง
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
มีชื่อเรียกว่า พาราโบลา
ซึ่งลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ a , b และ c และเมื่อ a เป็นบวกหรือลบ จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ
และกราฟของฟังก์ชันกำลังสองที่กำหนดด้วยสมการ y = ax^2
เมื่อ a ไม่เท่ากับ
0 เมื่อ a > 0 และชนิดคว่ำ
เมื่อ a < 0 อ่านต่อ
ฟังก์ชั่นเชิงเส้น
คือ ฟังก์ชั่นที่อยู่ในรูป f(x) = ax+b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง
เช่น f(x) = 2x+1
f(x) = -3x
f(x) = x-5 เป็นต้น อ่านต่อ
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
นิยาม ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล คือ
ฟังก์ชัน
จากบทนิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า 0
และฐานต้องไม่เป็น 1 อ่านต่อ
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
สำหรับจำนวนจริงใดๆ a, ค่าสัมบูรณ์ของ
a เขียนแทนด้วย
|a| เท่ากับ
a ถ้า
a ≥ 0
และเท่ากับ −a ถ้า
a < 0
(ดูเพิ่มเติม: อสมการ) |a|
จะไม่เป็นจำนวนลบ
ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์เสมอ นั่นคือจะไม่มีค่า a ที่
|a| < 0 อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)